วันอังคารที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12
วิชา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัย
Learning Experiences Management in Early Childhood Education
กลุ่มเรียน 102
ดร. จินตนา สุขสำราญ
เวลาเรียน 11.30-14.30 น.
วันจันทร์ที่ 24 เมษายน 2560


สะท้อนการเรียน



การสอนแผนเสริมประสบการณ์หน่วยดิน เรื่อง ประโยชน์ของดิน วันพฤหัสบดี 







หน่วยนม เรื่องประโยชน์ของนม (Cooking นมเย็น)





แผนนมเรื่องประโยชน์ของนม วันพุธ 





หน่วยไข่ เรื่องประโยขน์ของไข่ (Cooking ไข่พระอาทิตย์) วันพฤหัสบดี













หน่วยดิน เรื่องโทษของดิน วันศุกร์









หน่วยนม เรื่องโทษของนม วันศุกร์















หน่วยไข่ เรื่องการถนอมอาหาร วันศุกร์









skills (ทักษะที่ได้รับ)

-ทักษะการวิเคราะห์
-ทักษะการ ถาม-ตอบ

Adoption (การนำไปใช้)

- นำความรู้ไปใช้ปฏิบัติในการสอนเด็กปฐมวัยต่อไป

Evaluation (การประเมิน)

Instructor Rating (ประเมินผู้สอน) อาจารย์อธิบายเนื้อหาได้อย่างมีความเข้าใจ
Rating friends (ประเมินเพื่อน) ตั้งใจฟังเพื่อนๆคนอื่นสอนกันทุกคน
Self-evaluation (ประเมินตนเอง) เข้าใจในการสอนประสบการณ์มากขึ้น

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11
วิชา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัย
Learning Experiences Management in Early Childhood Education
กลุ่มเรียน 102
ดร. จินตนา สุขสำราญ
เวลาเรียน 11.30-14.30 น.
วันจันทร์ที่ 27 มีนาคม 2560


สะท้อนการเรียน

อาจารย์ได้ให้นักศึกษาสอบสอน แผนการสอบประสบการณ์
สอนแผนเสริมประสบการณ์ หน่วยดิน เรื่อง ประเภทของดิน วันจันทร์






สอนแผนเสริมประสบการณ์ หน่วยนม เรื่อง ประเภทของนม วันจันทร์




สอนแผนเสริมประสบการณ์ หน่วยสัตว์ เรื่อง ประเภทของสัตว์ วันจันทร์


สอนแผนเสริมประสบการณ์ หน่วยนม เรื่อง ลักษณะของนมวันอังคาร







skills (ทักษะที่ได้รับ)

-ทักษะการแสดงออก
-ทักษะการ ถาม-ตอบ

Adoption (การนำไปใช้)

- นำแผนการสอนและวิธีการสอนในวันนี้ไปใช้สอนเด็กปฐมวัยต่อไป

Evaluation (การประเมิน) 

 Instructor Rating (ประเมินผู้สอน) อาจารย์บอกถึงวิธีการสอนประสบการณ์อย่างเป็นลำดับขั้นตอนและเข้าใจได้ง่าย
Rating friends (ประเมินเพื่อน) ตั้งใจเตรียมการสอนแผนกาารจัดประสบการณ์อย่างตั้งใจ
Self-evaluation (ประเมินตนเอง) มีความเข้าใจมากขึ้น

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10
วิชา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัย
Learning Experiences Management in Early Childhood Education
กลุ่มเรียน 102
ดร. จินตนา สุขสำราญ
เวลาเรียน 11.30-14.30 น.
วันจันทร์ที่ 13 มีนาคม 2560



สะท้อนการเรียน

อาจารย์ได้เล่านิทาน เรื่อง กับดักหนูให้นักศึกษาฟังและให้แสดงความคิดเห็น



วันศุกร์วนมาอีกรอบหนึ่งแล้ว ตอนนี้ก็สองสัปดาห์ผ่านไปแล้วนะครับนับจากปีใหม่มา เป็นอย่างไรกันบ้างครับ ปีนี้ก็น่าจะเป็นปีที่ดีๆ ของหลายๆ คนนะครับ ต้นปีแบบนี้ก็ขอให้มีแต่สิ่งดีๆ เกิดขึ้น และขอให้พลังจงอยู่กับท่านตลอดทั้งปีนะครับ วันนี้ผมก็เอานิทานสอนใจมาให้อ่านกันอีกเรื่องหนึ่งครับ ลองอ่านดูเลยละกันครับ

วันหนึ่งหนูน้อยตัวหนึ่งมองผ่านทางรูฝาผนังบ้านเห็นภรรยาของชาวนากำลังตั้งกับดักหนู ด้วยความตื่นเต้นตกใจ เจ้าหนูน้อยกระโจนออกไปกลางลาน พร้อมตะโกนด้วยความตกอกตกใจกลัวภัยอันตรายที่จะเข้ามาใกล้ตัว

“กับดักหนูอยู่ในบ้าน!! กับดักหนูอยู่ในบ้าน!!”

แม่ไก่ได้ยินเข้า ก็มองหนูอย่างเยาะยันพร้อมพยักไหล่อย่างไม่แยแส พร้อมกับกล่าวว่า

“เจ้าหนูน้อย ข้าได้ยินแล้วว่าภัยใกล้ตัวเจ้า แต่นั่นมันเป็นเรื่องของเจ้า กับดักหนูไม่ใช่เรื่องที่ข้าจะสนใจอะไร มันไม่ธุระของข้า”

ว่าแล้วก็คุยเขี่ยหาอาหารอย่างทองไม่รู้ร้อนต่อไป

เจ้าหนูน้อยวิ่งหน้าตั้งไปยังหมูซึ่งกำลังใช้จมูกขุดคุยอาหาร

“หมู หมู นายรู้หรือเปล่าว่ามีกับดักหนูอยู่ในบ้าน” หมูได้ยินพยักหน้ารับ พร้อมบอกว่า

“เจ้าหนูน้อย ข้ารู้สึกสงสารแกจริง ๆ แต่ข้าไม่สามารถจะช่วยอะไรเจ้าได้หรอก นอกจากจะสวดมนต์ภาวนาให้เจ้าปลอดภัยเท่านั้น ข้าจะสวดมนต์ภาวนาให้เจ้าทุก ๆ ครั้งก่อนนอนก็แล้วกันนะ”

ด้วยความหมดอาลัยตายอยาก เจ้าหนูวิ่งโร่ไปหาวัวซึ่งกำลังเล็มหญ้าอยู่ข้างๆ บ้าน

“นาย นาย มีกับดักหนูอยู่ในบ้าน” เจ้าหนูน้อยตะโกนบอกวัวด้วยเสียงระทึกกลัว

วัวหันมายิ้มพร้อมกับพูดว่า “โม โม! เออ! จริงหรือ? น่ากลัวนะสำหรับเจ้า แต่ขอโทษทีเถอะสำหรับข้าไม่ได้สะเทือนตัวข้าเลยสักนิด กับกับดักหนูเล็ก ๆ แค่นั้น”

ด้วยความหมดหวัง เจ้าหนูน้อยเดินคอตกกลับไปเผชิญชะตากรรมในบ้านอย่างโดดเดี่ยว

หลังมืดสนิทในคืนนั้น เสียงกับดักหนูงับเสียงดังสนั่น ภรรยาชาวนาลงมาดูหวังได้หนู แต่ในความมืดภรรยาชาวนามองไม่เห็นว่ากับดักหนูงับติดหางงูเห่าตัวใหญ่อยู่ ในความมืดงูเห่ากัดภรรยาชาวนา จนต้องรีบนำส่งโรงพยาบาล และกลับมารักษาที่บ้าน แต่ปรากฏว่าภรรยาชาวนามีไข้ขึ้นสูงตลอดเวลา

ชาวนาทุกคนรู้ว่ายาแก้ไขนั้นต้องให้คนไข้ทานซุปไก่ ดังนั้นชาวนาก็ฆ่าไก่มาต้มซุปให้ภรรยาทาน แต่อย่างไรเสียอาการป่วยของภรรยาไม่ดีขึ้นเลย มีเพื่อนฝูงเกือบทั้งหมู่บ้านมาเยี่ยมเฝ้าไข้กันเนื่องแน่น จนชาวนาต้องฆ่าหมูเพื่อทำอาหารเลี้ยงเพื่อน ๆที่มาเยี่ยมเยียน และปรนนิบัติภรรยาตัวเอง

เวลาผ่านไปภรรยาชาวนาก็ไม่ดีขึ้นในที่สุดก็ได้เสียชีวิตไป หลังจากนั้นก็มีงานศพใหญ่โตเพื่อนฝูงมาร่วมงานกันมากมาย ชาวนาก็ต้องเชือดวัวทำอาหารเลี้ยงแขกในงาน….

เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทั้งหมดนี้ ไม่ได้เล็ดลอดจากสายตาของเจ้าหนูน้อยตัวนั้นแม้สักนิด เพราะเจ้าหนูน้อยได้เฝ้าสังเกตการณ์จากรูฝาผนังด้วยหัวใจที่แสนเศร้าสลดตลอดมาง

นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า หากได้ยินภัยอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับใครคนใดคนหนึ่งในสังคม จงคิดเอาใจใส่หาทางช่วยเหลือ อย่าคิดว่าธุระไม่ใช่ จงจำไว้ว่าวันหนึ่งภัยเล็กน้อยนั้นอาจจะลามใหญ่เป็นภัยถึงตัวเราก็ได้

ฉะนั้นเราต้องเป็นหูเป็นตาให้แก่กัน อย่านึกว่าธุระไม่ใช่ ไม่เช่นนั้น เราอาจจะมีปัญหาร้ายแรงเกิดขึ้น เพราะถือว่าไม่ใช่เรื่องของตน ดั่งเช่น ไก่,หมู และวัว ในนิทานนี้เรื่องนี้นั่นเอง

skills (ทักษะที่ได้รับ)

-ทักษะการประยุกต์
-ทักษะการวิเคราะห์

Adoption (การนำไปใช้)

- นำคำสอนจากนิทานกับดักหนูไปใช้ในการดำเนินชีวิตและนำความรู้จากการสอนแบบโครงไปใช้ในการฝึกประสบการณ์และการเป็นครูต่อไป

Evaluation (การประเมิน)

Instructor Rating (ประเมินผู้สอน) อาจารย์สามารถอธิบายถึงนิทานและแนวการสอนได้อย่างเข้าใจ
Rating friends (ประเมินเพื่อน) เข้าใจในสิ่งที่อาจารย์
Self-evaluation (ประเมินตนเอง) สามารถนำความรู้ในวันนี้ไปปฏิบัติได้จริง

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 9
วิชา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัย
Learning Experiences Management in Early Childhood Education
กลุ่มเรียน 102
ดร. จินตนา สุขสำราญ
เวลาเรียน 11.30-14.30 น.
วันจันทร์ที่ 6 มีนาคม 2560


สะท้อนการเรียน

-วันนี้อาจารย์ได้นำวีดีโอการสอนเด็ก โดยใช้ BBL
เพลง ตบมือ ตบตัก ตบไหล่
เพลง จับหัว จับหู จับไหล่
- ส่งแผน เสริมประสบการณ์ในแต่ละหน่วย
แผนการจัดประสบการณ์ ชั้น อนุบาล 2/1 กิจกรรม เสริมประสบการณ์ วัน จันทร์วัตถุประสงค์
1.เด็กบอกชนิดของนมได้
2.เด็กทราบถึงแหล่งที่มาของนมถั่วเหลือง
3.เด็กเล่นร่วมกับผู้อื่นได้

skills (ทักษะที่ได้รับ)

-ทักษะการวิเคราะห์
-ทักษะการ ถาม-ตอบ

Adoption (การนำไปใช้)

- ได้เรียนรู้เกี่ยวการสอนแบบ BBL และได้เรียนรู้วิธีการเขียนแผนที่ถูกต้อง

Evaluation (การประเมิน)

Instructor Rating (ประเมินผู้สอน) อาจาย์สอนได้เข้าใจและแต่งกายเรียบร้อย
Rating friends (ประเมินเพื่อน) ตั้งใจเรียนและให้ความร่วมมือทุกคน
Self-evaluation (ประเมินตนเอง) เข้าใจในการสอนBBl มากขึ้น

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 8
วิชา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัย
Learning Experiences Management in Early Childhood Education
กลุ่มเรียน 102
ดร. จินตนา สุขสำราญ
เวลาเรียน 11.30-14.30 น.
วันเสาร์ 4 มีนาคม 2560

สะท้อนการเรียน

การเรียนการสอนชดเชย


อาจารย์ได้ให้นักศึกษาออกมาสอนแผนการเคลื่อนไหวของแต่ละหน่วยซึ่งมีหน่วยการเรียนการสอนทั้งหมด 4 หน่วย
1.นม
2.ดิน
3.ไข่
4.กล้วย
โดยอาจารย์จะให้คำแนะนำเทคนิคในการสอนแผนกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะให้กับนักศึกษาทุกคนเพื่อนำไปปรับใช้ให้แผนการสอนมีความสมบูรณ์ถูกต้องมากขึ้น

skills (ทักษะที่ได้รับ)

-ทักษะความคิดสร้างสรรค์
-ทักษะการ ถาม-ตอบ

Adoption (การนำไปใช้)

- นำความรู้ที่เพื่อนได้สอนทำให้นำไปปรับใช้ต่อไป

Evaluation (การประเมิน)

Instructor Rating (ประเมินผู้สอน) อธิบายในสิ่งที่เพื่อนได้เข้าใจ
Rating friends (ประเมินเพื่อน) ร่วมมือในกิจกรรมเป็นอย่างดี
Self-evaluation (ประเมินตนเอง) เขาใจในวิธีการสอนเคลื่อนไหวมากขึ้น

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7
วิชา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัย
Learning Experiences Management in Early Childhood Education
กลุ่มเรียน 102
ดร. จินตนา สุขสำราญ
เวลาเรียน 11.30-14.30 น.
วันจันทร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ 2560

วันนี้ไม่มีการสอนเนื่องจากสัปดาห์ สอบกลางภาค

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 6
วิชา การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ทางการศึกษาปฐมวัย
Learning Experiences Management in Early Childhood Education
กลุ่มเรียน 102
ดร. จินตนา สุขสำราญ
เวลาเรียน 11.30-14.30 น.
วันจันทร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560




สะท้อนการเรียน
วันนี้เป็นการนำเสนอ แผนการเคลื่อนไหวในแต่ละกลุ่ม
ดิฉันได้ได้หน่วย นม ซึ่งนางสาวเปมิกา เปาะทองคำ เป็นคนสอนวันจันทร์




แผนการจัดประสบการณ์ ชั้นอนุบาล 2/1 กิจกรรม เคลื่อนไหวและจังหวะ วัน จันทร์
วัตถุประสงค์
1.เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายได้อย่างสนุกสนาน
2.ฟังและปฏิบัติตามสัญญาณได้
3.เด็กสามารถเคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์ได้
4.เด็กเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่างกายประกอบเพลงได้
5.เด็กระมัดระวังความปลอดภัยให้ตนเองและผู้อื่นในขณะเคลื่อนไหวร่างกายได้
สาระที่ควรเรียนรู้
กิจกรรมพื้นฐาน
-การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ การหมุน การบิดตัว การโอนเอน
-การเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่ เช่น การเดินแบบต่างๆ
กิจกรรมสัมพันธ์เนื้อหา
-การเคลื่อนไหวประกอบเพลง
-การเคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์
กิจกรรมพักคลายกล้ามเนื้อ
-เด็กนั่งยืดขาและหายใจเข้าออกช้าๆ
ประสบการณ์สำคัญ
ด้านร่างกาย
-การเคลื่อนไหวอยู่กับที่
-การเคลื่อนไหวแบบเคลื่อนที่
ด้านอารมณ์-จิตใจ
-การแสดงออกอย่างสนุกสนานกับการทำกิจกรรมเคลื่อนไหวแบบต่างๆ
ด้านสังคม
-การทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่น
ด้านสติปัญญา
-การแสดงความคิดสร้างสรรค์ผ่านการเคลื่อนไหว
กิจกรรมการเรียนรู้
กิจกรรมพื้นฐาน
-เด็กหาปริมาณและพื้นที่เฉพาะตัว
-เด็กเคลื่อนไหวร่างกายอย่างอิสระ เช่น การหมุน การบิด การโอนเอนส่วนต่างๆ ของร่างกาย และการเดินแบบต่างๆ ตามจังหวะและสัญญาณ ช้า เร็ว หยุด
กิจกรรมสัมพันธ์เนื้อหา
1.เด็กเคลื่อนไหวร่างกายอย่างอิสระตามจังหวะและสัญญาณไปตามทิศทางต่างๆ เช่น ซ้าย ขวา หน้า หลัง เมื่อได้ยินสัญญาณหยุด ให้จับมือกันเป็นวงกลม
2.ครูแจกอุปกรณ์ (หมวกนมหรรษา) ให้เด็กทุกคน
-เด็กสำรวจอุปกรณ์ โดยครูใช้คำถาม เช่น หมวกนมที่เด็กได้มีชื่อว่าอะไร มีรสชาติแบบไหน
3.เด็กเคลื่อนไหวเพลงดื่มนม โดยทำท่าประกอบพร้อมอุปกรณ์
4.ทำซ้ำข้อ 3 อีกรอบ
กิจกรรมพักคลายกล้ามเนื้อ
-เด็กนั่งยืดขาและหายใจเข้าออกช้าๆ
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
-เครื่องเคาะจังหวะ
-หมวกนมหรรษา
การวัดและประเมินผล
สังเกตพฤติกรรมดังนี้
1.การเคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกาย
2.ฟังและปฏิบัติตามสัญญาณ
3.การเคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์
4.การเคลื่อนไหวประกอบเพลง
5.การระมัดระวังความปลอดภัยให้ตนเองและผู้อื่นในขณะเคลื่อนไหวร่างกาย

skills (ทักษะที่ได้รับ)

-ทักษะความคิดสร้างสรรค์
-ทักษะการ ถาม-ตอบ

Adoption (การนำไปใช้)

- นำความรู้ที่ได้สอนจริงไปปรับปรุงและปรับใช้ต่อไป

Evaluation (การประเมิน)

Instructor Rating (ประเมินผู้สอน) อาจารย์บอกข้อเสียข้อด้อยได้อย่างชัดเจน
Rating friends (ประเมินเพื่อน) ให้ความร่วมมือในกิจกรรมกันทุกคน
Self-evaluation (ประเมินตนเอง) ทั้งใจในการสอนมาก